ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0978
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

9.78 SMTP สำหรับ outgoing ของ Outlook ..
: Sendmail Transfer protocol ทำให้ส่ง e-mail ผ่าน outlook หรือโปรแกรมอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกันได้
บริการนี้ทำให้ส่ง e-mail ผ่านโปรแกรม outlook ได้ การเปิดบริการ smtp มีขั้นตอนหลายอย่าง ตั้งแต่การเปิด port และเปิด relay ให้กับเครื่องในเครือข่าย ถ้าไม่เปิด relay ให้ก็หมดสิทธิใช้ เพราะ relay จะ denied การให้บริการ SMTP เพราะ SMTP เหมาะกับการเปิดบริการให้กับสมาชิกเท่านั้น
อธิบายการใช้ cyrus เป็น imap http://rd.cc.psu.ac.th/content/view/23/46/
ใน FC4 ใช้ dovecot แทน imap ดูจาก http://www.itwizard.info/webboard/view.php?No=545
#getsebool -a แสดงสถานะว่าบริการอะไร Active อยู่บ้าง
#setsebool -P httpd_can_network_connect=1 (เปลี่ยนเป็น active แบบถาวร)
อ่านเพิ่มเติมได้ที่
- http://thaicert.nectec.or.th/paper/unix_linux/sendmail.php
- http://www.redhat.com/support/resources/faqs/RH-sendmail-FAQ/book1.html
  1. เข้า setup เลือก system services แล้วเลือกเปิด sendmail
    ผลการเปิด sendmail จะทำให้ port 25 ถูกเปิด
    ลองใช้คำสั่ง netstat -a จะแสดงรายชื่อ port ที่เปิดให้บริการ
    ถ้าไม่มีตัวเลือก sendmail ก็ต้องหาแผ่น CD มาติดตั้งเพิ่มด้วยการใช้คำสั่ง rpm -i sendmail
  2. แก้แฟ้ม /etc/mail/sendmail.mc (เพิ่มบริการตรวจสอบ Blacklist)
    เดิม DAEMON_OPTIONS(`Port=smtp,Addr=127.0.0.1, Name=MTA')
    ใหม่
    dnl DAEMON_OPTIONS(`Port=smtp,Addr=127.0.0.1, Name=MTA')
    dnl changed FEATURE(dnsbl, `rbl.maps.vix.com', `Open spam relay - see http://maps.vix.com/')dnl
    dnl changed FEATURE(dnsbl, `blackholes.mail-abuse.org', `Rejected - see http://www.mail-abuse.or$
    dnl changed FEATURE(dnsbl, `dialups.mail-abuse.org', `Dialup - see http://www.mail-abuse.org/dul$
    dnl changed FEATURE(dnsbl, `relays.mail-abuse.org', `Open spam relay - see http://work-rss.mail-$
    dnl changed FEATURE(dnsbl, `inputs.orbz.org', `Open spam relay - see http://orbz.org/')dnl
    dnl changed FEATURE(dnsbl, `outputs.orbz.org', `Open spam relay - see http://orbz.org/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `orbs.dorkslayers.com', `Open spam relay - see http://dorkslayers.com/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `dev.null.dk', `Open spam relay - see http://null.dk/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `bl.spamcop.net', `Open spam relay - see http://spamcop.net/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `relays.osirusoft.com', `Open spam relay - see http://osirusoft.com/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `relays.visi.com', `Open spam relay - see http://visi.com/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `list.dsbl.org', `Open spam relay - see http://dsbl.org/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `relays.ordb.org', `Open spam relay - see http://ordb.org/')dnl
    FEATURE(dnsbl, `proxies.relays.monkeys.com', `Open spam relay')dnl
    FEATURE(dnsbl, `dnsbl.sorbs.net', `Open spam relay')dnl
    FEATURE(dnsbl, `dynablock.easynet.nl', `Open spam relay')dnl
    FEATURE(delay_checks)dnl
    FEATURE(relay_based_on_MX)dnl
    MAILER(smtp)dnl
    MAILER(procmail)dnl
    Cwlocalhost.localdomain
    Cwmail.yonok.ac.th
    Cw202.29.78.1

    + การเพิ่มบรรทัดข้างบนนี้ท่านต้องแน่ใจว่า server ของท่านไม่อยู่ใน black list มิเช่นนั้นจะไม่ได้รับ e-mail เข้ามาเลย
    + ถ้าเครือข่ายต่างประเทศล่ม แล้วท่านยังใช้บริการ black list ท่านจะไม่สามารถรับจดหมายใหม่ จากเครื่อข่ายในไทย เพราะระบบกรอง mail ล้มเหลว
  3. พบว่า config ใน sendmail.mc ผิด เรื่อง local_procmail ต้องแก้ให้ถูก ถ้าไม่ถูก .procmailrc ใน home ก็ไม่ทำงาน .. เท่านั้นเอง
    หลักการนี้ยังมีปัญหา อย่างพึ่งทำอะไรนะครับ ผมต้องค้นข้อมูลอีกที เพราะใช้แล้วระบบส่ง mail ไม่ออก
    เดิม FEATURE(local_procmail,`',`procmail -t -Y -a $h -d $u')dnl
    ใหม่ FEATURE(`local_procmail',`procmail -t -Y -a $h -d $u')dnl
  4. แก้แฟ้ม /etc/mail/access เพื่อเปิด relay
    localhost.localdomain RELAY
    localhost RELAY
    202.29.78 RELAY
    127.0.0.1 RELAY
    10 550 No service
  5. เคยใช้บรรทัดนี้ แต่ใน RH9.0 ไม่ได้ลง SQL จึงใช้คำสั่งนี้ไม่ได้ # update /etc/mail/*.db
  6. # cd /etc/mail
  7. # make
  8. # m4 /etc/mail/sendmail.mc > /etc/mail/sendmail.cf
  9. # /etc/init.d/sendmail restart
  10. # /sbin/chkconfig --level 3 sendmail on
    วิธีหยุด spam หรือ junk แบบ procmail ที่ http://www.redhat.com
  11. เปิดแฟ้ม /etc/postfix/main.cf ควบคุมการส่งอีเมลขยะออกจากเครื่อง ผ่าน relayhost
    #relayhost = [an.ip.add.ress]
    relayhost = smtp.yonok.ac.th
    แล้ว Restart Sendmail อีกครั้ง ตรวจด้วย ps -aux | grep sendmail
    local_destination_concurrency_limit = 3
  12. เปิดแฟ้ม /etc/postfix/master.cf ควบคุมการส่งอีเมลขยะออกจากเครื่อง ผ่าน spamassassin
    smtp inet n - n - - smtpd -v (ทำให้เก็บ log ได้ละเอียด)
    smtp inet n - - - - smtpd -o content_filter=spamassassin
    spamassassin unix - n n - - pipe
    flags=R user=spamd argv=/usr/bin/spamc -e /usr/sbin/sendmail -oi -f ${sender} ${recipient}

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor