ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0972
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

9.72 ติดตั้ง squid เป็น Proxy server ที่ 3128
: โปรแกรมนี่จะทำให้ความเร็วในการให้บริการ internet โดยรวมขององค์กรดีขึ้น ถ้าปฏิบัติตามระเบียบในการใช้ proxy
    ระเบียบการใช้ proxy
  1. เมื่อติดตั้ง squid ลงไปใน linux server ขององค์กรแล้ว ท่านก็จะได้เครื่อง proxy server ขึ้นมา 1 ตัว
  2. ไปกำหนดในเครื่องทุกเครื่องให้มองมาที่ proxy server ตัวนี้ เช่น www.isinthai.com บน port 3128 อย่ากำหนดมาที่นี่นะครับ เพราะจะทำให้เครื่องท่าน เปิดเว็บช้าโดยใช่เหตุ แต่ถ้าเครื่องของท่านตั้งอยู่ในเครือข่ายของโยนก นั่นจะเป็นอะไรที่ถูกต้อง
  3. หลังจากกำหนด proxy ให้ชี้ไปที่ www.isinthai.com อย่างถูกต้องแล้ว ทุกครั้งที่เปิดเว็บด้วย browser จะวิ่งไปที่เครื่องนั้นก่อน เพื่อตรวจว่า เว็บที่ขอเปิดเคยเปิดหรือไม่ ถ้าเคยเมื่อไม่นานนี้ ก็จะไม่ออกไปนอกเครือข่าย แต่จะเอาข้อมูลจาก proxy มาให้ท่าน ทำให้ไม่ต้องออกไปนอกเครือข่าย โดยไม่จำเป็น
ขั้นตอนข้างล่างนี้ อาจไม่จำเป็น ต้องทำทุกขั้นตอน ถ้าตอน install linux ได้เลือก squid หรือ everything ก็ไม่จำเป็นต้อง ลงโปรแกรมอีกรอบ เพียงแต่เข้าไป set up แฟ้ม squid.conf ใน /home/squid/etc/squid.conf หรือ /etc/squid/squid.conf แต่ถ้าเปลี่ยนใจต้องการ ลง squid ใหม่ แทนที่จะใช้ตัวที่ติดตั้งมาก็ลบตัวเดิมออกด้วยคำสั่ง rpm -e squid-2.3.STABLE1-5 เพราะผมใช้คำสั่ง rpm -qa|grep squid แล้วพบว่า install มาตอนติดตั้ง linux ครับ (squid-2.3-200103110000-src.tar.gz ขนาด 971,877 byte)
ติดตั้ง squid เพื่อทำให้ server เป็น proxy สำหรับองค์กร ที่ต้องการลดปัญหาคอขวด มีบทความแนะนำที่ http://www.thailinux.com/1999/04/18/topic1.html คุณ new way เขียนได้ละเอียดดีมาก ต้องยกนิ้วให้ครับ ซึ่งแนะนำให้ Download squid ของ http://squid.nlanr.net/Squid/ เมื่อลง squid ตามขั้นตอนแล้ว มี จุดที่ต้องแก้ไขในแฟ้ม ~/etc/squid.conf คือ cache_effective_user squid และ cache_effective_group squid และ cache_peer www.isinthai.com parent 3128 3130 และ http_access allow all
ดู log file ของ squid ที่ห้อง ~/logs ในแฟ้ม cache.log (ต้องใช้ user squid ในการ set squid ตลอดนะครับ) โดยใช้คำสั่ง tail -f access.log และสามารถอ่านรายละเอียด การกำหนดเพิ่มเติม ได้ที่ http://www.squid-cache.org/Doc/Hierarchy-Tutorial/
    ขั้นตอนการติดตั้ง squid ให้เครื่องเป็น proxy server http://www.thailinux.com/1999/04/18/topic2.html
    su
    adduser squid
    passwd squid
    su squid (ไม่ใช้ user squid ก็ได้ แต่ถ้าใช้ดูด้วยว่า gcc เปิดหรือไม่)
    cd /home/httpd/html/thaiall
    tar xfvz squid-2.3-200103110000-src.tar.gz
    cd squid-2.3-200103110000
    ./configure --prefix=/home/squid
    make all
    make install (แปลกมากที่ บรรทัดนี้ error แต่ก็ไม่เป็นไร เพราะใช้งานได้ปกติ)
    cd /home/squid/etc
    pico squid.conf
    
      # Detail in file /home/squid/etc/squid.conf หรือ /etc/squid/squid.conf http_port 3128 cache_peer www.isinthai.com parent 3128 3130 cache_mem 8 MB cache_swap_low 90 cache_swap_high 95 maximum_object_size 4096 KB minimum_object_size 0 KB ipcache_size 1024 ipcache_low 90 ipcache_high 95 cache_dir ufs /home/squid/cache 100 16 256 cache_access_log /home/squid/logs/access.log cache_log /home/squid/logs/cache.log cache_store_log /home/squid/logs/store.log refresh_pattern ^ftp: 1440 20% 10080 refresh_pattern ^gopher: 1440 0% 1440 refresh_pattern . 0 20% 4320 acl all src 0.0.0.0/0.0.0.0 acl manager proto cache_object acl localhost src 127.0.0.1/255.255.255.255 acl SSL_ports port 443 563 acl Safe_ports port 80 21 443 563 70 210 1025-65535 acl Safe_ports port 280 acl Safe_ports port 488 acl Safe_ports port 591 acl Safe_ports port 777 acl CONNECT method CONNECT http_access allow manager localhost http_access deny manager http_access deny !Safe_ports http_access deny CONNECT !SSL_ports http_access allow all icp_access allow all miss_access allow all cache_effective_user squid cache_effective_group squid
    ทดสอบการทำงานของ squid
    cd /home/squid/bin หรือ /usr/sbin
    squid -z สร้าง swap directory
    squid สั่ง start manual
    ps aux|grep squid  ดูว่า squid ทำงานใน process หรือไม่
    cd /home/squid/logs ห้องนี้เก็บ ผลการทำงานเมื่อใช้ squid
    tail -f access.log เมื่อมีคนเปิดเว็บแล้วใช้บริการ squid จะมีผลต่อแฟ้มนี้
    
    วิธีทำให้ทุกครั้งที่เปิดเครื่องแล้ว run squid อัตโนมัติ หรือปรับปรุง
    # เพิ่มบรรทัดข้างล่างนี้ไปในแฟ้ม /etc/rc.d/rc.local
    su -c "nohup /home/squid/bin/squid&" squid
    หรือ
    su -c "nohup /usr/sbin/squid&" squid
    
    # เมื่อปรับค่า เช่นขนาดของ cache ใน /home/squid/etc/squid.conf หรือ /etc/squid/squid.conf แล้วต้องทำบรรทัดข้างล่างนี้ เพื่อ update ค่าต่าง ๆ ใหม่ squid -k reconfigure
    # แสดง option ของ squid ให้พิมพ์ว่า squid -k

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor