ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0966
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

9.66 เปิดบริการ DNS server
: บริการ Domain Name service เพื่อให้ทุกเครื่องสามารถเรียกเว็บ หรือบริการด้วยชื่อได้
เปิดบริการ DNS server เพื่อทำให้ระบบเครือข่ายเรียกชื่อเว็บ เป็นตัวอักษรได้ และเป็นชุดที่ใช้กำหนดชื่อเครื่องในระบบทั้งหมด ถ้าในระบบเครือข่ายของท่าน มีเครื่องที่ต้องการตั้งชื่อหลายเครื่อง แต่ถ้าท่านเป็นเครื่องใช้พิมพ์งานธรรมดาก็ไม่จำเป็นต้องมีชื่อให้ใครเรียกเข้ามา ปกติเครื่องที่จะมีชื่อมักเป็น web server หรือ ftp server
การเปิดบริการนี้ต้องเปิดด้วยการสั่ง #setup แล้วเข้าไปในส่วน system services แล้วเลือก named เมื่อจะสั่งให้ named ทำงานต้องสั่ง #/etc/init.d/named restart ตรวจสอบได้ว่า named ทำงานหรือไม่โดยพิมพ์ #ps aux|grep named
ทดสอบเปิดบริการ named แบบ foreground ด้วย #named -g -p 53 ถ้าเลิกก็กด CTRL-C
พบ error เรื่อง permission ของห้อง /var/run/named เดิมเป็น 755 ไม่สามารถ start named ผมต้องเปลี่ยนเป็น 777 จึง ok
ใช้คำสั่ง #nmap localhost ดูได้ว่า port 53 ถูกเปิดหรือไม่ ถ้าไม่เปิด ก็แสดงว่าเครื่องยังไม่เป็น DNS หรือ Domain server (หัวข้อ 2.29)
    9.66.1 :: /etc/named.conf
      # ใน DNS server (star.yonok.ac.th) # เพิ่มเพียง 4 บรรทัดนี้เข้าไป # ใน unix พบแฟ้มนี้ใน /export/local/etc zone "yonok.ac.th" in { type master; file "db.yonok.ac.th"; allow-query {any;}; allow-transfer {202.28.18.65;}; }; zone "isinthai.com" in { type master; file "db.isinthai.com"; }; zone "78.29.202.in-addr.arpa" in { type master; file "db.202.29.78"; };
    9.66.2 :: /var/named/db.isinthai.com
      # ใน DNS server (star.yonok.ac.th) # ถ้าเครื่องไม่เป็น ns ก็ไม่จำเป็นต้องมี ; isinthai.com @ IN SOA www.isinthai.com. postmaster.www.isinthai.com. ( 2001022605 43200 7200 1209600 172800 ) IN NS star.yonok.ac.th. ; ตรงกับ checkdomain.com IN MX 5 www.isinthai.com. www IN A 202.29.78.1 mail IN CNAME www.isinthai.com. wichep IN CNAME yn2.yonok.ac.th.
    9.66.3 :: /var/named/db.yonok.ac.th
      ; yonok.ac.th @ IN SOA star.yonok.ac.th. postmaster.star.yonok.ac.th. ( 2003011001 43200 7200 1209600 172800 ) IN NS star.yonok.ac.th. IN NS mars.uni.net.th. IN MX 5 star.yonok.ac.th. star IN A 202.29.78.12 door IN A 202.29.78.254 email IN A 216.200.145.34 IN MX 6 sitemail.everyone.net. mail IN CNAME star.yonok.ac.th. ;email IN CNAME siteurl.everyone.net.
    9.66.4 :: /var/named/db.202.29.78
      - ใน DNS server (star.yonok.ac.th) - ถ้าเครื่องไม่เป็น ns ก็ไม่จำเป็นต้องมี ; Yonok.ac.th $ORIGIN 78.29.202.IN-ADDR.ARPA. @ IN SOA star.yonok.ac.th. postmaster.star.yonok.ac.th. ( 2001022601 ;serial 43200 ;Refresh 12 hours 7200 ;Retry 2 hours 1209600 ;Expire 2 weeks 172800) ;TTL IN NS star.yonok.ac.th. 1 IN PTR www.isinthai.com. 2 IN PTR isinthai.yonok.ac.th. 12 IN PTR star.yonok.ac.th.

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor