ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0950
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

9.50 ความผิดพลาด
: ถ้าไม่ทำอะไร ก็คงไม่ผิดพลาด ผมทำอะไรหลายอย่างจนพบว่า ความผิดพลาดนั้นเป็นเรื่องปกติ ซึ่งสามารถนำมาเล่าสู่กันฟังได้ดังนี้
  1. linux vga=791 เป็นวิธีเข้า linux แบบ graphic mode เพราะเครื่องผมเป็น notebook ECS 29,900 บาท เมื่อ Boot ด้วย CD ของ Redhat9.0 หน้าจอจะเป็นสีฟ้า ไม่ว่าจะเข้าแบบใด และการเข้าไม่ว่าแบบใด เมื่อเติม vga=791 ก็จะทำให้เข้าสู่ Redhat ได้ไม่มีปัญหาด้านการแสดงผล
  2. imap-2000 เป็นโปรแกรมสำหรับ upgrade imap ตัวเดิม ผมไม่สามารถให้บริการ imap ผ่าน pop จึงต้องใช้ตัวเก่า แต่ก็ไม่รู้วิธีลบออก ผมหาวิธีลบตั้งนาน แต่พอใช้ rpm -e imap โดยไม่ต้องตามด้วย version ก็ลบได้ แล้วลงตัวเก่า ปรากฏว่าให้บริการ ได้ตามปกติ แต่ต้องไม่ปิด hosts.deny นะครับ ผมพยายามเลือกเปิดแล้วไม่สำเร็จ จึงต้องเปิดหมด .. ปัญหาที่ค้างอยู่คือต้องเปิดหมด ไม่รู้จะเลือกเปิดตัวไหน จึงจะให้บริการ pop3 ได้
  3. การคัดลอก passwd, shadow, group จากเครื่องหนึ่งมาใส่อีกเครื่องหนึ่ง พร้อม copy mail และ folder ทั้งหมดมา ปัญหาที่ผมมองข้ามไปคือ account บาง account ในเครื่องเดิมมี uid แบบหนึ่ง หากนำ passwd มาทับ หากไม่ mathch กันกับ user เดิมจะเกิดปัญหา ต้องดูว่ามี account เดิมอะไรที่เคย install โปรแกรม เข้าไป ก็ต้องแก้ไขให้ตรงกันก่อน ในเครื่องเก่า แล้วค่อยย้ายมา
  4. การ upgrade apache ไม่แน่ใจว่าทำไม โปรแกรมจึงไปเรียก /usr/sbin/httpd(เก่า) แทน /home/httpd/bin/httpd(ใหม่) ซึ่งตอนลงครั้งแรกไม่มีปัญหา แต่พอนำโปรแกรม upgrade apache หลังจากลง version ของ apache ใหม่ ก็เกิดปัญหา ผมแก้ไขด้วยการ copy โปรแกรมใหม่ มาทับโปรแกรมเดิม ก็แก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ได้ผล
  5. จุดบกพร่องของระบบคือ software มีรอยรั่ว ต้อง upgrade software โปรแกรมมากมายที่ นำมา upgrade อาจใช้ไม่ได้ เพราะมีเงื่อนไข ในการ upgrade โปรแกรมแต่ละตัว โปรแกรมหนึ่งที่ทำให้ผมเสียเวลาไป 2 วันคือ kernel ซึ่งเป็นโปรแกรมสำคัญ มี 2 (i386 และ i686) ตัวที่ผมได้ทดสอบ upgrade แต่ทั้ง 2 ตัวทำให้เครื่องไม่รู้จัก eth0 ผมอาจแก้ปัญหาไม่ตรงจุดก็ได้ ใช้ route หรือ reboot ก็แล้ว ไม่ work สรุปว่า upgrade kernel ด้วยโปรแกรมจากเว็บของ redhat ไม่ได้ครับ แต่โปรแกรมผมอื่น ก็พยายาม upgrade เข้าไป .. น่าจะป้องกันปัญหา hacker ได้ระดับหนึ่ง
  6. Named อยู่ ๆ ก็หยุดทำงานไปเฉย ๆ ผมต้อง stop และ start ใหม่ ตอนนี้ไปได้ bind มา upgrade ไม่แน่ใจว่าสำเร็จหรือไม่ ก็ต้องรอดูกันต่อไป
  7. เคยสั่ง 700 /tmp ซึ่งไม่เกิดปัญหา แต่มาพบว่า การใช้ห้ามใช้ห้อง /tmp จะทำให้ pop ใช้งานไม่ได้ และใช้ pine เปิด mail box ก็จะฟ้องว่าเป็น read only ผมจึงไม่สามารถปิด
  8. ลง apache ใหม่ ใช้เวลาตั้งนานหาวิธีแก้ไข สุดท้ายก็ไม่ได้ เพราะจำไม่ได้ว่าแก้ไขอะไร /etc/httpd/conf/httpd.conf ก็ไม่ได้ backup ไว้แต่แรก สุดท้ายต้อง upgrade ใหม่ด้วยคำสั่ง rpm -U --fource apache-1.3.14..... แต่ก็ไม่ได้ต้องเข้าไปลบแฟ้ม httpd.conf ออกก่อน จึงจะทำการสร้างใหม่ได้
  9. เปิดเว็บโดยใช้ default index.html แล้วมีปัญหา ปัญหานี้แก้ได้ แต่ไม่แน่ใจว่าแก้ถูกวิธีหรือไม่ เพราะเดิม ไม่ว่าส่ง หรือรับ จาก telnet ต้องอ้างถึง host name แต่ผมพอแก้แฟ้ม hosts และ sendmail.cf เพื่อทำให้เป็น default แบบไม่มี host name กลับไปมีผลต่อระบบ web ที่เป็น httpd ถ้าไม่แก้ host จะเข้าเว็บเช่น http://www.yonok.ac.th/mba ได้ พอแก้ hosts โดยนำชื่อออกเช่น 202.29.78.12 yonok.ac.th star จากเดิม 202.29.78.12 star.yonok.ac.th star เป็นต้น ดังนั้นเพื่อให้ได้ทั้งระบบตัด host name และ default ของทุก directory เป็น index.html จึงต้องแยก web server กับ mail server ออกจากกัน พบว่าปัญหามาจากการตัด host เวลาเข้าเว็บจะเหลือเพียง http://yonok.ac.th/mba ทั้งที่พิมพ์ว่า http://www.yonok.ac.th/mba ซึ่ง error message บอกว่า page not found

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor