ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0219
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

2.19 คำสั่ง mount, umount
: เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive
การใช้ mount เป็นสิ่งที่ผู้ดูแลระบบต้องเข้าใจหลักการให้ได้ เพราะเป็นช่องทางในการติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ล่าสุด ผมต่อ harddisk เข้าไปในเครื่อง server เพิ่มอีก 1 ตัว ซึ่งระบบมอง harddisk ตัวที่เพิ่มเข้าไปเป็น hdc ด้วยคำสั่ง fdisk -l เมื่อต้องการ partition ที่ 1 ของ hdc มาเป็นห้อง /x ก็เพียงแต่ใช้คำสั่งสร้างห้องคือ #mkdir /x สำหรับครั้งแรก แล้วใช้คำสั่ง #mount /dev/hdc1 /x ก็จะใช้ห้อง /x ซึ่งอยู่ใน harddisk อีกตัวหนึ่งได้ทันที
    คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคำสั่ง mount
      #cat /etc/fstab : ดู file system table เพื่อบอกว่ามีอะไร mount ไว้แล้วบ้าง
      #cat /etc/mtab : ดูรายละเอียดการ mount ในอีกรูปแบบหนึ่ง
      #cat /proc/mounts : บอกว่ามีอะไร mount ไว้แล้วบ้าง
      #cat /proc/partitions : บอกชื่อ และขนาดของแต่ละ partitions
      #cat /proc/filesystems : บอกประเภทของ filesystems ที่มีการสนับสนุน
      #/sbin/fdisk -l : แสดง partition จาก harddisk ทุกตัวที่เชื่อมต่อในเครื่องนั้น

    ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งาน
    #mount --bind /var/www /home/yourname/www
    #mount
    แสดงข้อมูลที่เคย mount ไว้ทั้งหมด

    วิธีใช้แผ่น Floppy Disk ใน linux
      #mkdir /floppy
      #mkfs -t ext3 /dev/fd0 1440
      #mount -t ext3 /dev/fd0 /floppy
      - or -
      #mkdir /floppy
      #mkfs -t msdos /dev/fd0 1440
      #mount -t msdos /dev/fd0 /floppy

      ต่อไปในห้อง /floppy ก็คือแผ่น disk ใน drive A ส่วน /dev/fd1 ก็คือ drive B แต่ต้องเริ่มทำใหม่นะครับ
    วิธีใช้ Handy Drive เช่น Apacer (ต้อง umount ก่อนดึง apacer ออกก่อนเสมอ)
      #mkdir /mnt/apacer (Just first time)
      #mount /dev/sda1 /mnt/apacer
      ...
      #cd /
      #umount /dev/sda1
      - and -
      #pico /etc/fstab Add: /dev/sda1 /mnt/apacer auto noauto,user 0 0
    วิธีเรียกใช้แฟ้มใน Partition อื่น เช่น WindowsXP
    cd / :: ย้ายตัวเองไปยัง root directory
    mkdir hd :: สร้างห้องชื่อ hd ซึ่งเป็นห้องเปล่าไม่มีอะไร
    fdisk -l :: ดูว่ามี partition อะไรในเครื่องบ้าง ที่ต้องการ mount เข้ากับ /hd
    mount /dev/hdb2 /hd :: ทำให้เรียกใช้ /dev/hdb2 จาก /hd ได้ เช่น cd /hd/etc ถ้าใน hdb2 มีห้องชื่อ etc
    umount /hd :: ยกเลิกการ mount /hd

    วิธีใช้ CDROM
    mount :: แสดงรายการอุปกรณ์ หรือห้องต่าง ๆ ที่ถูก mount ไว้แล้ว
    mount -t ext3 :: แสดงให้เห็นว่า partition แบบ ext3 มีอะไรถูก mount ไว้บ้าง
    mount -t vfat :: แสดงให้เห็นว่า partition แบบ vfat มีอะไรถูก mount ไว้บ้าง
    mount /dev/cdrom :: ใช้ติดต่อ CD ROM เมื่อเข้าไปใช้เช่น #cd /mnt/cdrom และใช้ #ls
    umount /dev/cdrom :: เพื่อเลิกใช้ CD ROM หรือต้องการดึงแผ่นออก แต่ท่านต้องออกมาก่อนด้วยคำสั่ง #cd / เป็นต้น
    eject :: ถ้าไม่ umount ด้านล่าง ก็สั่ง eject เพื่อดีด CD-ROM ออกได้เลยครับ และไม่ต้องสั่ง umount หรือออกจากห้องก่อนนะ

    ตัวอย่างผลการใช้คำสั่ง #mount ใน server ตัวหนึ่ง
    /dev/hda5 on / type ext3 (rw)
    none on /proc type proc (rw)
    /dev/hda1 on /boot type ext3 (rw)
    none on /dev/pts type devpts (rw,gid=5,mode=620)
    /dev/hda3 on /home type ext3 (rw)
    none on /dev/shm type tmpfs (rw)
    /dev/hda2 on /usr type ext3 (rw)
    /dev/hda6 on /var type ext3 (rw)
Android
in
Terminal Emulator
$mount
$umount
#mount
#umount

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor